กล้ามเนื้อของร่างกายมนุษย์ โดยทั่วไปร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่างประมาณ 640 มัด อย่างไรก็ตาม ตัวเลขจำนวนกล้ามเนื้อที่แน่นอนก็ยังไม่แน่ชัดเพราะแต่ละแหล่งข้อมูลก็มีการจัดกลุ่มกล้ามเนื้อแตกต่างกัน ทำให้จำนวนกล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์มีตั้งแต่ 640-850 มัด[1] ซึ่งตารางนี้มีรายชื่อกล้ามเนื้อประมาณ 320 มัด
หน้าที่ของกล้ามเนื้อในตารางนี้เป็นหน้าที่มาตรฐานเมื่อร่างกายอยู่ในตำแหน่งทางกายวิภาค (anatomical position) ในตำแหน่งร่างกายอื่นๆ กล้ามเนื้ออาจมีหน้าที่ที่ต่างออกไป
- 1กล้ามเนื้อของศีรษะและคอ: ศีรษะ
- 1.1หนังศีรษะ/หนังตา
กล้ามเนื้อของศีรษะและคอ: ศีรษะ
หนังศีรษะ/หนังตา[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ออกซิปิโตฟรอนทาลิส(occipitofrontalis) มี 4 ปลีกล้ามเนื้อ ได้แก่ ปลีท้ายทอย 2 ปลี และปลีหน้าผาก 2 ปลี กาเลีย อโพนิวโรติกา (galea aponeurotica) เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) ยกคิ้ว กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ออกซิปิตาลิส(occipitalis) เส้นหลังคอเส้นบนสุด (superior nuchal line) ของกระดูกท้ายทอย
ส่วนกกหู (mastoid part) ของกระดูกขมับกาเลีย อโพนิวโรติกา(galea aponeurotica) หลอดเลือดแดงท้ายทอย (occipital artery) เส้นประสาทโพสทีเรียร์ออริคิวลาร์(posterior auricular nerve) (เส้นประสาทเฟเชียล) ย่นคิ้ว, ดึงหนังศีรษะไปด้านหลัง ฟรอนทาลิส(frontalis) กาเลีย อโพนิวโรติกา (galea aponeurotica) ผิวหนังบริเวณโหนกคิ้ว(Supraciliary crest) หลอดเลือดแดงลูกตา(ophthalmic artery) เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) ย่นคิ้ว, ดึงหนังศีรษะมาด้านหน้า
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน กล้ามเนื้อหลับตา(ออบิคิวลาริส ออกคูไล; orbicularis oculi) กระดูกหน้าผาก (frontal bone) ; เอ็นมีเดียลแพลพีบรัล (medial palpebral ligament) ; กระดูกแอ่งถุงน้ำตา (lacrimal bone) แลทเทอรัล แพลพีบรัล ราฟี (lateral palpebral raphe) หลอดเลือดแดงลูกตา (ophthalmic) , หลอดเลือดแดงไซโกมาติโค-ออบิทัล (zygomatico-orbital) , หลอดเลือดแดงแองกูลาร์ (angular) แขนงไซโกมาติก (zygomatic branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล หลับตา กล้ามเนื้อลืมตา คอร์รูเกเตอร์ ซูเปอร์ซิลิไอ (corrugator supercilii) โหนกคิ้ว (superciliary arches) ผิวหนังที่หน้าผาก, ใกล้กับคิ้ว เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) ย่นหน้าผาก, ขมวดคิ้ว ดีเพรสเซอร์ ซูเปอร์ซิลิไอ (depressor supercilii) ขอบเบ้าตาด้านใกล้กลาง มุมด้านใกล้กลางของกระดูกเบ้าตา เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) กดคิ้วลง - 1.2กล้ามเนื้อนอกลูกตา
กล้ามเนื้อนอกลูกตา[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน กล้ามเนื้อลืมตา (ลีเวเตอร์ แพลพีบรี ซุพีเรียริส; levator palpebrae superioris) กระดูกสฟีนอยด์(sphenoid bone) แผ่นหนังตาบน (superior tarsal plate) หลอดเลือดแดงลูกตา(ophthalmic artery) เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา(oculomotor nerve) ลืมตา กล้ามเนื้อหลับตา ซุพีเรียร์ ทาร์ซัล (superior tarsal) ด้านล่างของกล้ามเนื้อลืมตา แผ่นหนังตาบน (superior tarsal plate) หลอดเลือดแดงลูกตา(ophthalmic artery) ระบบประสาทซิมพาเทติก ยกหนังตาบน กลุ่มเรกตัส (Rectus) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ซุพีเรียร์ เรกตัส(superior rectus) แอนนูลัส ออฟ ซินน์ (annulus of Zinn) ที่ด้านหลังของเบ้าตา 7.5 มม. ด้านบนของคอร์เนียล ลิมบัส (corneal limbus) เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา(oculomotor nerve) กลอกตาขึ้น, กลอกตาเข้าใน, หมุนขั้วบนของลูกตาเข้าใน (intorsion) อินฟีเรียร์ เรกตัส(inferior rectus) แอนนูลัส ออฟ ซินน์ (annulus of Zinn) ที่ด้านหลังของเบ้าตา 6.5 มม. ด้านบนของคอร์เนียล ลิมบัส (corneal limbus) แขนงล่าง (inferior branch) ของเส้นประสาทกล้ามเนื้อตา กลอกตาลง, กลอกตาเข้าใน มีเดียล เรกตัส(medial rectus) แอนนูลัส ออฟ ซินน์ (annulus of Zinn) ที่ด้านหลังของเบ้าตา 5.5 มม. ด้านบนของคอร์เนียล ลิมบัส (corneal limbus) ส่วนล่าง (inferior division) ของเส้นประสาทกล้ามเนื้อตา กลอกตาเข้าใน แลทเทอรัล เรกตัส (lateral rectus) แอนนูลัส ออฟ ซินน์ (annulus of Zinn) ที่ด้านหลังของเบ้าตา 7 มม. ด้านบนของคอร์เนียล ลิมบัส (corneal limbus) เส้นประสาทแอบดิวเซนต์(abducens nerve) กลอกตาออกนอก
กลุ่มออบลีก (Oblique) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ซุพีเรียร์ ออบลีก(superior oblique) แอนนูลัส ออฟ ซินน์ (annulus of Zinn) ที่ด้านหลังของเบ้าตา, อยู่ใกล้กลางต่อคลองประสาทตา (optic canal) ด้านหลังของลูกตา แขนงแลทเทอรัลมัสคิวลาร์ (lateral muscular branch) ของหลอดเลือดแดงลูกตา (ophthalmic artery) เส้นประสาททรอเคลียร์(trochlear nerve) หน้าที่หลัก: หมุนขั้วบนของลูกตาเข้าใน (intorsion)
หน้าที่รอง: กลอกตาออกนอก, กลอกตาลงอินฟีเรียร์ ออบลีก(inferior oblique) พื้นผิวที่ประกอบเป็นเบ้าตาของกระดูกขากรรไกรบน, ด้านข้างต่อแอ่งถุงน้ำตา (lacrimal groove) เป็นเอ็นกล้ามเนื้อแบนเกาะที่ลูกตาใต้จุดเกาะปลายของกล้ามเนื้อแลทเทอรัล เรกตัส เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา(oculomotor nerve) หมุนขั้วบนของลูกตาออกนอก (extorsion) , กลอกตาขึ้น, กลอกตาออกนอก
- 1.3กล้ามเนื้อในลูกตา
กล้ามเนื้อในลูกตา[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ซิลิอารี (ciliary muscle) เส้นประสาทกล้ามเนื้อตา (ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก) รีเฟล็กซ์ปรับสายตา(Accommodation reflex) ไอริส ไดเลเตอร์ (iris dilator) ปมประสาทซุพีเรียร์เซอร์วิคัล (superior cervical ganglion) (ระบบประสาทซิมพาเทติก) รูม่านตาขยาย กล้ามเนื้อไอริส สฟิงคเตอร์ ไอริส สฟิงคเตอร์ (iris sphincter) เส้นประสาทชอร์ทซิลิอารี (short ciliary nerves) รูม่านตาหดหรี่ กล้ามเนื้อไอริส ไดเลเตอร์ - 1.4หู
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ออริคิวลาริส(auriculares) กาเลีย อโพนิวโรติกา (galea aponeurotica) ด้านหน้าของวงใบหู(helix) , พื้นผิวด้านกะโหลกของใบหู เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) (กระดิกหู) เทมพอโรพาไรทาลิส(temporoparietalis) กล้ามเนื้อออริคิวลาริส กาเลีย อโพนิวโรติกา(galea aponeurotica) สเตปีเดียส(stapedius) คอของกระดูกโกลน เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) ควบคุมความดังของเสียงภายในหูชั้นใน เทนเซอร์ ทิมพานี(tensor tympani) ท่อหู (auditory tube) ก้านของกระดูกค้อน หลอดเลือดแดงซุพีเรียร์ทิมพานิก (superior tympanic artery) เส้นประสาทมีเดียลเทอริกอยด์ (medial pterygoid nerve) จากเส้นประสาทแมนดิบูลาร์(mandibular nerve) ทำให้เยื่อแก้วหูตึง - 1.5จมูก
จมูก[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน โปรเซอรัส(procerus) จากพังผืดที่คลุมเหนือส่วนล่างของกระดูกจมูก (nasal bone) ผิวหนังของส่วนล่างของหน้าผากระหว่างคิ้ว แขนงแก้ม (Buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ขมวดคิ้ว ช่วยเวลาทำหน้าบึ้ง นาซาลิส(nasalis) กระดูกขากรรไกรบน (Maxilla) กระดูกจมูก (Nasal bone) แขนงแก้ม (Buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล หดดั้งจมูก, กดยอดจมูกลง, ยกมุมของรูจมูก กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ไดเลเตเตอร์ นาริส(dilatator naris) ขอบของรอยเว้าจมูกของกระดูกขากรรไกรบน, กระดูกอ่อนปีกจมูกชิ้นใหญ่และชิ้นเล็ก (greater and lesser alar cartilages) ผิวหนังใกล้กับขอบของรูจมูก แขนงแก้ม (Buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ทำให้รูจมูกกว้าง
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ดีเพรสเซอร์ เซปไต นาไซ(depressor septi nasi) แอ่งเพดานปากหลังฟันตัด(incisive fossa) ของกระดูกขากรรไกรบน ผนังกลางจมูก (nasal septum) และส่วนหลังของส่วนปีกของกล้ามเนื้อนาซาลิส แขนงแก้ม (Buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล กดผนังกลางจมูก ลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส อลีควี นาไซ (levator labii superioris alaeque nasi) กระดูกขากรรไกรบน (maxilla) รูจมูกและริมฝีปากบน แขนงแก้ม (Buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ขยายรูจมูก; ยกริมฝีปากบนและปีกจมูก - 1.6ปาก
ปาก[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ลีเวเตอร์ แองกูไล ออริส (levator anguli oris) กระดูกขากรรไกรบน (maxilla) โมดิโอลัสของปาก(modiolus of mouth) หลอดเลือดแดงเฟเชียล(facial artery) เส้นประสาทเฟเชียล (facial nerve) ยิ้ม (ยกมุมปาก) ดีเพรสเซอร์ แองกูไล ออริส(depressor anguli oris) ปุ่มกระดูกของขากรรไกรล่าง โมดิโอลัสของปาก(modiolus of mouth) หลอดเลือดแดงเฟเชียล(facial artery) แขนงขากรรไกรล่าง (mandibular branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล กดมุมปาก กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ลีเวเตอร์ เลบิไอ ซุพีเรียริส (levator labii superioris) ขอบล่างของเบ้าตาด้านใกล้กลาง ผิวหนังและกล้ามเนื้อของริมฝีปากบน หลอดเลือดแดงเฟเชียล (facial artery) แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ยกริมฝีปากบน ดีเพรสเซอร์ เลบิไอ อินฟีเรียริส (depressor labii inferioris) แนวเส้นเฉียง (oblique line) ของขากรรไกรล่าง, ระหว่างแนวประสาน (symphysis) และรูข้างคาง(mental foramen) ผิวหนังของริมฝีปากล่าง, ใยกล้ามเนื้อหูรูดปาก, กล้ามเนื้อมัดเดียวกันนี้ด้านตรงข้าม เส้นประสาทเฟเชียล(facial nerve) กดริมฝีปากล่าง กลุ่มไซโกมาติคัส (Zygomaticus) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ไซโกมาติคัส เมเจอร์(Zygomaticus major) ด้านหน้าของกระดูกโหนกแก้ม (zygomatic) โมดิโอลัสของปาก(modiolus of mouth) หลอดเลือดแดงเฟเชียล (facial artery) แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ดึงมุมปากไปทางด้านบนและด้านข้าง ไซโกมาติคัส ไมเนอร์(Zygomaticus minor) กระดูกโหนกแก้ม(zygomatic bone) ผิวหนังของริมฝีปากบน หลอดเลือดแดงเฟเชียล (facial artery) แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ยกริมฝีปากบน
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน เมนทาลิส (mentalis) ขากรรไกรล่างด้านหน้า คาง แขนงขากรรไกรล่าง (mandibular branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ยกและย่นผิวหนังของคาง, ยื่นริมฝีปากล่าง กล้ามเนื้อแก้ม (บักซิเนเตอร์; buccinator) ส่วนยื่นเบ้าฟัน (alveolar processes) ขากรรไกรบนและขากรรไกรล่าง, แนวประสานเทอริโกแมนดิบูลาร์(pterygomandibular raphe) ในใยกล้ามเนื้อหูรูดปาก หลอดเลือดแดงแก้ม (buccal artery) แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล กดแก้มเข้าไปชิดฟัน (เป่า) , การเคี้ยว กล้ามเนื้อหูรูดปาก (ออบิคิวลาริส ออริส; orbicularis oris) กระดูกขากรรไกรบนและขากรรไกรล่าง ผิวหนังรอบริมฝีปาก แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ย่นริมฝีปาก, ทำปากจู๋ กล้ามเนื้อแสยะยิ้ม (ไรซอเรียส; risorius) แผ่นพังผืดพาโรติด (parotid fascia) โมดิโอลัสของปาก (modiolus of mouth) หลอดเลือดแดงเฟเชียล (facial artery) แขนงแก้ม (buccal branch) ของเส้นประสาทเฟเชียล ดึงมุมปากไปทางด้านข้าง, แสยะยิ้ม - 1.7การเคี้ยว
การเคี้ยว[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน แมสซีเตอร์(masseter) โค้งกระดูกโหนกแก้ม(zygomatic arch) และกระดูกขากรรไกรบน ส่วนยื่นคอโรนอยด์ (coronoid process) และขากรรไกรล่างส่วนท้ายฟันกราม(ramus of mandible) หลอดเลือดแดงแมสซีเตอร์(masseteric artery) เส้นประสาทแมสซีเตอร์ (masseteric nerve; V3) ดึงขากรรไกรล่างขึ้น (ปิดปาก) , หดคางเข้าไป กล้ามเนื้อแพลทิสมา เทมพอราลิส(temporalis) เส้นขมับ (temporal lines) บนกระดูกข้างขม่อม ส่วนยื่นคอโรนอยด์ (coronoid process) ของขากรรไกรล่าง หลอดเลือดแดงขมับชั้นลึก (deep temporal) แขนงที่สามของเส้นประสาทขากรรไกรล่าง (mandibular nerve) ของเส้นประสาทไทรเจมินัล ดึงขากรรไกรล่างขึ้น (ปิดปาก) , หดคางเข้าไป กล้ามเนื้อแพลทิสมา กลุ่มเทอริกอยด์ (Pterygoid) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน เทอริกอยด์มัดนอก(lateral pterygoid) ปีกใหญ่ของกระดูกสฟีนอยด์และแผ่นเทอริกอยด์ (pterygoid plate) หัวขากรรไกรล่าง(Condyle of mandible) แขนงเทอริกอยก์ของหลอดเลือดแดงขากรรไกรบน (pterygoid branches of maxillary artery) เส้นประสาทเอกซ์เทอร์นัลเทอริกอยด์ (external pterygoid nerve) จากเส้นประสาทขากรรไกรล่าง (mandibular nerve) ดึงขากรรไกรล่างลง (อ้าปาก) เทอริกอยด์มัดใน(medial pterygoid) ปลายจุดเกาะต้นชั้นลึก: ด้านใกล้กลางของแผ่นเทอริกอยด์ด้านข้าง (lateral pterygoid plate) ด้านหลังฟันบน
ปลายจุดเกาะต้นชั้นผิว: พีระมิดัล โพรเซส (pyramidal process) ของกระดูกเพดานปาก และปุ่มกระดูกขากรรไกรบน (maxillary tuberosity)มุมใกล้กลางของกระดูกขากรรไกรล่าง (medial angle of the mandible) แขนงเทอริกอยก์ของหลอดเลือดแดงขากรรไกรบน (pterygoid branches of maxillary artery) เส้นประสาทขากรรไกรล่าง(mandibular nerve) ดึงขากรรไกรล่างขึ้น (ปิดปาก) , ช่วยกล้ามเนื้อเทอริกอยด์มัดนอกในการเคลื่อนขากรรไกรล่างไปมาทางด้านข้าง
- 1.8ลิ้น
- 1.8.1ภายนอก
- 1.8.2ภายใน
ภายนอก[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน เจนิโอกลอสซุส(genioglossus) ส่วนบนของเงี่ยงกระดูกคาง(mental spine) (แนวประสาทคาง(symphysis menti)) ด้านบนของลิ้นและตัวกระดูกไฮออยด์ หลอดเลือดแดงลิ้น(Lingual artery) เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) ใยกล้ามเนื้อส่วนล่างทำหน้าที่แลบลิ้น, ใยกล้ามเนื้อตรงกลางทำหน้าที่กดลิ้นลง, ใยกล้ามเนื้อส่วนบนดึงลิ้นไปทางด้านหลังและลงล่าง ไฮโอกลอสซุส(hyoglossus) กระดูกไฮออยด์ (hyoid) ด้านข้างของลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) คอนโดรกลอสซุส(chondroglossus) กิ่งเล็ก (lesser cornu) และตัวกระดูกไฮออยด์ (hyoid bone) ใยกล้ามเนื้อภายในของลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) สไตโลกลอสซุส(styloglossus) สไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกขมับ(Styloid process of temporal bone) ลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) ภายใน[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ซุพีเรียร์ ลองจิจูดินัล (superior longitudinal) ใกล้กับฝาปิดกล่องเสียง, จากมีเดียนไฟบรัสเซปตัม(median fibrous septum) ขอบของลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) อินฟีเรียร์ ลองจิจูดินัล (inferior longitudinal) โคนลิ้น ปลายลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve) ทรานสเวอร์ซุส (transversus) มีเดียนไฟบรัสเซปตัม (median fibrous septum) ด้านข้างของลิ้น เส้นประสาทกล้ามเนื้อลิ้น(hypoglossal nerve)
- 1.9เพดานอ่อน
เพดานอ่อน[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ลีเวเตอร์ วีไล พาลาทิไน (levator veli palatini) กระดูกขมับ (temporal bone) , ท่อหู(Eustachian tube) พาลาทีน อโพนิวโรซิส (palatine aponeurosis) หลอดเลือดแดงเฟเชียล (facial artery) เส้นประสาทเวกัส (vagus nerve) ยกเพดานอ่อน เทนเซอร์ วีไล พาลาทิไน (tensor veli palatini) แผ่นเทอริกอยด์แผ่นในของกระดูกสฟีนอยด์ พาลาทีน อโพนิวโรซิส (palatine aponeurosis) เส้นประสาทมีเดียลเทอริกอยด์(medial pterygoid) ของเส้นประสาทขากรรไกรล่าง ดึงรั้งเพดานอ่อน มัสคิวลัส ยูวูลี(musculus uvulae) เพดานแข็ง (hard palate) พาลาทีน อโพนิวโรซิส (palatine aponeurosis) ร่างแหประสาทคอหอย(pharyngeal plexus) พาลาโทกลอสซุส(palatoglossus) พาลาทีน อโพนิวโรซิส(palatine aponeurosis) ลิ้น เส้นประสาทเวกัสและเส้นประสาทเครเนียลแอคเซสซอรี (cranial accessory nerve) ยกส่วนโคนของลิ้น พาลาโทฟาริงเจียส(palatopharyngeus) พาลาทีน อโพนิวโรซิส(palatine aponeurosis) และเพดานแข็ง ขอบบนของกระดูกอ่อนไทรอยด์(thyroid cartilage) (ร่วมกับใยกล้ามเนื้อคอนสตริกเตอร์) หลอดเลือดแดงเฟเชียล (Facial artery) เส้นประสาทเวกัสและเส้นประสาทเครเนียลแอคเซสซอรี (cranial accessory nerve) ดึงคอหอยและกล่องเสียง - 1.10คอหอย
คอหอย[แก้]
กลุ่มฟาริงเจียล คอนสตริกเตอร์ (Pharyngeal constrictor) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน อินฟีเรียร์ ฟาริงเจียล คอนสตริกเตอร์ (inferior pharyngeal constrictor) กระดูกอ่อนไครคอยด์ (cricoid) และกระดูกอ่อนไทรอยด์ (thyroid cartilage) แนวประสานคอหอย(pharyngeal raphe) แขนงเส้นประสาทเอกซ์เทอร์นัลลาริงเจียล (external laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส กลืน มิดเดิล ฟาริงเจียล คอนสตริกเตอร์ (middle pharyngeal constrictor) กระดูกไฮออยด์ (hyoid bone) แนวประสานคอหอย(pharyngeal raphe) เส้นประสาทเวกัส (Vagus nerve) กลืน ซุพีเรียร์ ฟาริงเจียล คอนสตริกเตอร์ (superior pharyngeal constrictor) แผ่นเทอริกอยด์แผ่นใน (medial pterygoid plate) ,แนวประสานเทอริโกแมนดิบูลาร์(pterygomandibular raphé) , ส่วนยื่นเบ้าฟัน(alveolar process) แนวประสานคอหอย(pharyngeal raphe) , ปุ่มกระดูกคอหอย (pharyngeal tubercle) เส้นประสาทเวกัส (Vagus nerve) กลืน
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน สไตโลฟาริงเจียส(stylopharyngeus) สไตลอยด์ โพรเซสของกระดูกขมับ (Styloid process) กระดูกอ่อนไทรอยด์ (thyroid cartilage) (คอหอย) เส้นประสาทกลอสโซฟาริงเจียล(glossopharyngeal nerve) ยกกล่องเสียง, ยกคอหอย, กลืน แซลพิงโกฟาริงเจียส(salpingopharyngeus) กระดูกอ่อนของท่อหู(auditory tube) มัดกล้ามเนื้อมัดหลังของกล้ามเนื้อฟาริงโกพาลาทินัส (pharyngopalatinus) เส้นประสาทเวกัสและเส้นประสาทเครเนียลแอคเซสซอรี (cranial accessory nerve) ยกคอหอยส่วนจมูก - 1.11กล่องเสียง
กล่องเสียง[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน ไครโคไทรอยด์(cricothyroid) ด้านหน้าและด้านข้างของกระดูกอ่อนไครคอยด์ (cricoid cartilage) กิ่งล่าง (Inferior cornu) และแผ่นของกระดูกอ่อนไทรอยด์ (thyroid cartilage) แขนงเส้นประสาทเอกซ์เทอร์นัลลาริงเจียล(external laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส ดึงรั้งสายเสียงแท้ให้ตึงและยาว กลุ่มไครโคอริทีนอยด์ (Cricoarytenoid) :กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน โพสทีเรียร์ ไครโคอริทีนอยด์(posterior cricoarytenoid) ส่วนหลังของกระดูกอ่อนไครคอยด์ (cricoid) มัสคิวลาร์ โพรเซส ของกระดูกอ่อนอริทีนอยด์ (arytenoid) แขนงเส้นประสาทรีเคอร์เรนท์ลาริงเจียล (recurrent laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส กาง (abduct) และหมุนกระดูกอ่อนออกด้านข้าง ดึงให้สายเสียงแท้กางออกและไปด้านหน้า และเปิดช่องหว่างสายเสียงแท้ (rima glottidis) กล้ามเนื้อแลทเทอรัล ไครโคอริทีนอยด์ แลทเทอรัล ไครโคอริทีนอยด์ (lateral cricoarytenoid) ส่วนข้างของโค้งกระดูกอ่อนไครคอยด์(cricoid) มัสคิวลาร์ โพรเซส ของกระดูกอ่อนอริทีนอยด์ (arytenoid) แขนงเส้นประสาทรีเคอร์เรนท์ลาริงเจียล (recurrent laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส หุบ (adduct) และหมุนกระดูกอ่อนเข้าใน ดึงให้สายเสียงแท้หุบเข้าและไปด้านหลัง และปิดช่องหว่างสายเสียงแท้ (rima glottidis)
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน อริทีนอยด์(arytenoid) กระดูกอ่อนอริทีนอยด์(arytenoid) ข้างหนึ่ง กระดูกอ่อนอริทีนอยด์(arytenoid) อีกข้างหนึ่ง แขนงเส้นประสาทรีเคอร์เรนท์ลาริงเจียล(recurrent laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส ดึงกระดูกอ่อนอริทีนอยด์เข้าหากัน ปิดช่องหว่างสายเสียงแท้ (rima glottidis) ไทโรอริทีนอยด์(thyroarytenoid) พื้นผิวด้านในของกระดูกอ่อนไทรอยด์ (มุมมองด้านหน้า) พื้นผิวด้านหน้าของกระดูกอ่อนอริทีนอยด์ แขนงเส้นประสาทรีเคอร์เรนท์ลาริงเจียล(recurrent laryngeal branch) ของเส้นประสาทเวกัส ช่วยในการหุบสายเสียงแท้ระหว่างการพูด
- 1.1หนังศีรษะ/หนังตา
- 2กล้ามเนื้อของศีรษะและคอ: คอ
- 2.1ส่วนคอ
- 2.2กล้ามเนื้อซุปปราไฮออยด์
- 2.3กล้ามเนื้ออินฟราไฮออยด์
- 2.4กระดูกสันหลัง
- 2.4.1ด้านหน้า
- 2.4.2ด้านข้าง
ส่วนคอ[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน platysma inferior clavicleand fascia of chest mandible cervical branch of thefacial nerve(CN VII) Draws the corners of the mouth inferiorly and widens it (as in expressions of sadness and fright). Also draws the skin of the neck superiorly when teeth are clenched Masseter,Temporalis sternocleidomastoid manubrium sterni, medial portion of theclavicle mastoid process of the temporal bone, superior nuchal line occipital artery and thesuperior thyroid artery motor:accessory nerve
sensory:cervical plexusActing alone, tilts head to its own side and rotates it so the face is turned towards the opposite side. Acting together, flexes the neck, raises the sternum and assists in forced inspiration. ||กล้ามเนื้อซุปปราไฮออยด์[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน digastric anterior belly - digastric fossa (mandible) ; posterior belly -mastoid process of temporal bone Intermediate tendon (hyoid bone) anterior belly - mandibular division of thetrigeminal (CN V) via the mylohyoid nerve; posterior belly - facial nerve (CN VII) Opens the jaw when the masseter and thetemporalis are relaxed. stylohyoid styloid process (temporal) greater cornu ofhyoid bone facial nerve (CN VII) Elevate the hyoid during swallowing mylohyoid Mylohyoid line (mandible) Median raphé mylohyoid branch of inferior alveolar artery mylohyoid nerve, from [[inferior alveolar nerve|inferior alveolar branch of mandibular nerve V3] Raises oral cavity floor,elevates hyoid,depresses mandible geniohyoid Symphysis menti hyoid bone C1 via hypoglossal nerve carry hyoid bone and the tongue upward during deglutition กล้ามเนื้ออินฟราไฮออยด์[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน sternohyoid manubrium ofsternum hyoid bone ansa cervicalis depress hyoid bone sternothyroid manubrium thyroid cartilage Ansa cervicalis thyrohyoid thyroid cartilage hyoid bone first cervical nerve depress hyoid bone omohyoid Upper border of the scapula Hyoid bone Ansa cervicalis Depresses the larynx and hyoid bone. Carries hyoid bone backward and to the side
กระดูกสันหลัง
ด้านหน้า
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน longus colli Transverse processes of C-3 - C-6 Inferior surface of the occipital bone C2-C6 Flexes the neck and head longus capitis anterior tubercles of the transverse processes of the third, fourth, fifth, and sixth cervical vertebræ basilar part of the occipital bone C1-C3/C4 flexion of neck atatlanto-occipital joint rectus capitis anterior atlas occipital bone C1 flexion of neck atatlanto-occipital joint rectus capitis lateralis upper surface of the transverse process of the atlas under surface of the jugular process of the occipital bone C1 ด้านข้าง[แก้]
กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน scalene cervical vertebrae(C2-C7) first and secondribs Ascending cervical artery (branch of Inferior thyroid artery) cervical nerves (C3-C7) elevation of ribs I&II กล้ามเนื้อ จุดเกาะต้น จุดเกาะปลาย หลอดเลือดแดง เส้นประสาท หน้าที่ กล้ามเนื้อต้าน anterior C3-C6 first rib Ascending cervical artery (branch of Inferior thyroid artery) ventral ramus of C5, C6 medius C2-C6 first rib Ascending cervical artery (branch of Inferior thyroid artery) Ventral rami of the third to eighth cervical spinal nerves Elevate 1st rib, rotate the neck to the opposite side posterior transverse processes of C4 -C6 2nd rib Ascending cervical artery,superficial cervical artery C6 - C8 Elevate 2nd rib, tilt the neck to the same side
3 กล้ามเนื้อของลำตัว
หลัง
กลุ่มกล้ามเนื้อสปลีเนียส (Splenius muscles) :
- 4กล้ามเนื้อของรยางค์บน
- 5กล้ามเนื้อของรยางค์ล่าง
- 6อ้างอิง
- 7เชิงอรรถ
- 8แหล่งข้อมูลอื่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น